เครื่องมือค้นหา
ค้นหา...
ภาษาไทย
English
บริษัท ไซมาเคมี จำกัด
สำนักงานใหญ่ 0-2308-2102
โรงงาน 0-2324-0515-6
Contact
Youtube
LINE
Facebook
Instagram
Toggle
หน้าแรก
รู้จักไซมาเคมี
เกี่ยวกับเรา
ประวัติบริษัท
วิสัยทัศน์และนโยบายบริษัท
การจัดการองค์กร
ระบบรับรองคุณภาพ
รางวัลแห่งความสำเร็จ
บริษัทในเครือ
บริษัท แอ็กโกร (ประเทศไทย) จำกัด
บริษัท ไซมาเคมี จำกัด
บริษัท แพ็คกิ้ง แอ็ก จำกัด
ผลิตภัณฑ์
สารกำจัดไรศัตรูพืช
สารกำจัดแมลง
สารป้องกันกำจัดโรคพืช
สารกำจัดวัชพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโต
ปุ๋ยน้ำและอาหารเสริมพืช
สารเพิ่มประสิทธิภาพสารเคมีเกษตร
บริการ
วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์สารเคมีทางการเกษตร
ข่าวสาร
ข่าวกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ปัญหาศัตรูพืช
แวดวงเกษตร
กิจกรรมเพื่อสังคม/สิ่งแวดล้อม
VDO แนะนำผลิตภัณฑ์
โอกาสทางธุรกิจ
สมัครเป็นตัวแทนจำหน่าย
ร่วมงานกับเรา
ตำแหน่งงานว่าง
ติดต่อเรา
แบบประเมินความพึงพอใจ
ข้อร้องเรียน
บริษัท ไซมาเคมี จำกัด
ไซสโตรบิน
นาวิก
กลับไปที่: สารป้องกันกำจัดโรคพืช
แรมโบ-ฟอส
คำอธิบาย
ชื่อสามัญ :
ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม (fosetyl-aluminium) 80% WG
ลักษณะสาร :
แท่งสั้นสีขาว
ขนาดบรรจุ :
18x1000 กรัม
อัตราใช้ :
30-50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ
80-100 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร ทาแผลโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน
คุณสมบัติ :
เป็นสารกลุ่ม phosphonates มีคุณสมบัติเป็นสารดูดซึมแบบสมบูรณ์และแทรกซึมเข้าต้นพืชได้รวดเร็ว ระยะปลอดฝนสั้นเคลื่อนย้ายจากปลายรากสู่ส่วนยอดและเคลื่อนย้ายในต้นพืชผ่านท่อน้ำและท่ออาหารได้ดี ยับยั้งการงอกของสปอร์และขัดขวางการพัฒนาเส้นใยเชื้อโรค กลไกออกฤทธิ์ยังไม่ทราบชัดเจน ส่วนหนึ่งกลไกออกฤทธิ์แข่งขันหรือแย่งฟอสเฟตในการทำหน้าที่กับตัวควบคุมอัลโลสเตอริคในเอนไซม์หลายชนิด ชักนำให้พืชสร้างภูมิต้านทานและกระตุ้นการสร้างสารชีวเคมีไฟโตอเล็กซินกำจัดเชื้อโรค ในพืชตระกูลถั่ว ตระกูลพริก-มะเขือเทศ ตระกูลหญ้า เช่น ข้าว ข้าวฟ่าง ข้าวโอ๊ต แต่ไม่พบในข้าวโพด
ประโยชน์ :
ใช้ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มะเขือเทศ โรคผลเน่าในเงาะ ทุเรียน โรคยอดเน่า-ต้นเน่าในสับปะรด โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ส้ท ส้มโอ มะละกอ โรคเน่าดำ โรคยอดเน่าในกล้วยไม้ โรคราน้ำค้างในพืชต่างๆ โรคใบจุด โรคเปลือกเน่ายางพารา โรคเส้นดำยางพารา โรคลำต้นเน่ายางพารา เป็นต้น
หมายเหตุ :
ควรระมัดระวังในการผสมร่วมกับสารประกอบคอปเปอร์ กำมะถัน หรือสารกำจัดศัตรพืชที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ และสารโพรพาไกต์
จำนวนผู้เข้าชม :
710782
ครั้ง
แผนผังเว็บไซต์
Back To Top